ความหมายของศิลปะ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2530 หมายถึง ผลแห่งความคิดสร้างสรรค์ ของมนุษย์ที่แสดงออกมาในรูปลักษณ์ต่าง ๆ ให้ปรากฏ ซึ่งสุนทรียภาพ ความประทับใจ หรือความสะเทือนอารมณ์ ความอัจฉริยภาพ พุทธิปัญญา ประสบการณ์ รสนิยม และทักษะของแต่ละคน เพื่อความพอใจ ความรื่นรมย์ ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณีหรือ ความเชื่อทางศาสนา นอกจากนั้นนักปรัชญาได้นิยามความหมายของศิลปะไว้ มากมาย ดังเช่น
ศิลปะ คือการถ่ายทอดความรู้สึก ศิลปะเป็นวิธีสื่อสารความรู้สึกระหว่างมนุษย์ด้วยกัน (เรโอ ตอลสตอย : Leo Tolstoi)
ศิลปะ เกิดจากความเมาหรือความเพลิน ช่วยให้เราได้รับความเพลิดเพลินในชีวิต ด้วยเหตุนี้ โลกที่น่าเกลียดจึงเปลี่ยนแปลงไปเป็นโลกที่น่ารักเพราะศิลปะ (ไดโอนิซุส : Dionisus)
ศิลปะ ได้แก่สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ในเมื่อธรรมชาติไม่สามารถอำนวยให้
(หลวงวิจิตรวาทการ)
ศิลปะ หมายถึงงานอันเป็นความพากเพียรของมนุษย์ ซึ่งต้องใช้ความพยายามด้วยมือและด้วยความคิด (ศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี)
ศิลปะ คือการเลียนแบบธรรมชาติ
ศิลปะ คือการแสดงออกทางความงาม
ศิลปะ คือภาษาชนิดหนึ่ง
ศิลปะ คือการรับรู้ทางการเห็น
ศิลปะ คือการกระทำทุกอย่างที่มนุษย์ต้องการสร้างขึ้น เพื่อให้มีความงาม ความแปลก และมีประโยชน์เท่าที่ความสามารถและแรงดลใจของมนุษย์จะแสดงให้ปรากฏได้
จากการนิยามความหมายดังกล่าวพอสรุปได้ว่า ศิลปะ คือสิ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อความงามและความพึงพอใจ
วันศุกร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555
สาขาวิชาศิลปะภาพพิมพ์
สาขาวิชาศิลปะภาพพิมพ์ ศึกษาเกี่ยวกับการสร้างสรรค์งานศิลปะภาพพิมพ์จากระบวนการพิมพ์ต่างๆ ทั้งกระบวนการพิมพ์จากส่วนนูน จากส่วนร่อง จากส่วนช่องฉลุ และกระบวนการพิมพ์จากส่วนภาพ ตลอดจนการสร้างสรรค์งานศิลปกรรมจากศาสตร์อื่นๆ และมีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ความรู้ทางด้านทัศนศิลป์ต่างๆ เพื่อการสร้างสรรค์งานด้านศิลปกรรม
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังจบการศึกษา
ศิลปินอิสระทางศิลปะภาพพิมพ์
นักวิชาการทางศิลปะ
รับราชการฝ่ายศิลป์ ช่างศิลป์
เจ้าของกิจการโรงพิมพ์ ออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์
พนักงานบริษัทฝ่ายศิลป์ โฆษณา ออกแบบฯ
นักพัฒนาวิชาชีพทางศิลปะภาพพิมพ์ ศิลปกรรมประยุกต์
นักสร้างสรรค์ที่สามารถใช้เทคโนโลยีบูรณาการกับงานศิลปะภาพพิมพ์
อาชีพอิสระ นักออกแบบทางศิลปะภาพพิมพ์ นักสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์
ผู้จัดการธุรกิจทางศิลปะ
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังจบการศึกษา
ศิลปินอิสระทางศิลปะภาพพิมพ์
นักวิชาการทางศิลปะ
รับราชการฝ่ายศิลป์ ช่างศิลป์
เจ้าของกิจการโรงพิมพ์ ออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์
พนักงานบริษัทฝ่ายศิลป์ โฆษณา ออกแบบฯ
นักพัฒนาวิชาชีพทางศิลปะภาพพิมพ์ ศิลปกรรมประยุกต์
นักสร้างสรรค์ที่สามารถใช้เทคโนโลยีบูรณาการกับงานศิลปะภาพพิมพ์
อาชีพอิสระ นักออกแบบทางศิลปะภาพพิมพ์ นักสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์
ผู้จัดการธุรกิจทางศิลปะ
ศิลปะภาพพิมพ์ ( Printmaking) ภาพพิมพ์ คืออะไร
ศิลปะภาพพิมพ์ ( Printmaking) ภาพพิมพ์ คืออะไร
ภาพพิมพ์ โดยความหมายของคำย่อมเป็นที่เข้าใจชัดเจนแล้วว่า หมายถึงรูปภาพที่สร้างขึ้นมา
โดยวิธีีการพิมพ์ แต่่สำหรับคนไทยส่วนใหญ่เมื่อพูดถึง ภาพพิมพ์อาจจะยังไม่เป็นที่รู้จักว่าภาพพิมพ์
์คืออะไรกันแน่ เพราะคำๆนี้เป็นคำใหม่ที่เพิ่งเริ่มใช้กันมาประมาณเมื่อ 30 ปี มานี้เอง
โดยวิธีีการพิมพ์ แต่่สำหรับคนไทยส่วนใหญ่เมื่อพูดถึง ภาพพิมพ์อาจจะยังไม่เป็นที่รู้จักว่าภาพพิมพ์
์คืออะไรกันแน่ เพราะคำๆนี้เป็นคำใหม่ที่เพิ่งเริ่มใช้กันมาประมาณเมื่อ 30 ปี มานี้เอง
โดยความหมายของคำเพียงอย่างเดียว อาจจะชวนให้เข้าใจสับสนไปถึงรูปภาพที่พิมพ์ด้วย
กรรมวิธีการพิมพ์ทางอุตสาหกรรม เช่น โปสเตอร์ ภาพพิมพ์ที่จำลองจากภาพถ่าย หรือภาพจำลอง
จิตรกรรม อันที่จริงคำว่า ภาพพิมพ์ เป็นศัพท์เฉพาะทางศิลปะที่หมายถึง ผลงานวิจิตรศิลป์ที่จัดอยู่ใน
ประเภท ทัศนศิลป์ เช่นเดียวกันกับจิตรกรรมและประติมากรรม
กรรมวิธีการพิมพ์ทางอุตสาหกรรม เช่น โปสเตอร์ ภาพพิมพ์ที่จำลองจากภาพถ่าย หรือภาพจำลอง
จิตรกรรม อันที่จริงคำว่า ภาพพิมพ์ เป็นศัพท์เฉพาะทางศิลปะที่หมายถึง ผลงานวิจิตรศิลป์ที่จัดอยู่ใน
ประเภท ทัศนศิลป์ เช่นเดียวกันกับจิตรกรรมและประติมากรรม
ภาพพิมพ์ทั่วไปมีลักษณะเช่นเดียวกับจิตรกรรมและภาพถ่าย คือตัวอย่างผลงานมีเพียง 2 มิติ ส่วนมิติที่ 3 คือ ความลึกที่จะเกิดขึ้นจากการใช้ ภาษาเฉพาะของทัศนศิลป์ อันได้แก่ เส้น สี น้ำหนัก และพื้นผิว สร้างให้ดูลวงตาลึกเข้าไปในระนาบ 2 มิติของผิวภาพ แต่ภาพพิมพ์มีลักษณะเฉพาะที่ี่แตก
ต่างจากจิตรกรรมตรงกรรมวิธีการสร้างผลงานที่จิตรกรรมนั้น ศิลปินเป็นผู้สร้างสรรค์ขีดเขียน หรือ
วาดภาพระบาย สีลงไปบนผืนผ้าใบ กระดาษ หรือสร้างออกมาเป็นภาพโดยทันที แต่การสร้างผลงาน
ภาพพิมพ์ศิลปินต้องสร้างแม่พิมพ์ขึ้นมาเป็นสื่อก่อน แล้วจึงผ่านกระบวนการพิมพ์ ถ่ายทอดออกมาเป็น
ภาพที่ต้องการได้
ต่างจากจิตรกรรมตรงกรรมวิธีการสร้างผลงานที่จิตรกรรมนั้น ศิลปินเป็นผู้สร้างสรรค์ขีดเขียน หรือ
วาดภาพระบาย สีลงไปบนผืนผ้าใบ กระดาษ หรือสร้างออกมาเป็นภาพโดยทันที แต่การสร้างผลงาน
ภาพพิมพ์ศิลปินต้องสร้างแม่พิมพ์ขึ้นมาเป็นสื่อก่อน แล้วจึงผ่านกระบวนการพิมพ์ ถ่ายทอดออกมาเป็น
ภาพที่ต้องการได้
จากกรรมวิธีในการสร้างผลงานด้วยการพิมพ์นี้เอง ที่ทำให้ศิลปินสามารถสร้างผลงาน ต้นแบบ
( Original) ที่ี่เหมือนๆกันได้หลายชิ้น เช่นเดียวกับผลงานประติมากรรม ประเภทที่ปั้นด้วยดินแล้วทำแม่
พิมพ์หล่อผลงานชิ้นนั้นให้เป็นวัสดุถาวร เช่นทองเหลือง หรือสำริด ทุกชิ้นที่หล่อออกมาถือว่าเป็นผล
งาน ต้นแบบ มิใช่ผลงานจำลอง ( Reproduction) ทั้งนี้เพราะว่าภาพพิมพ์นั้นก็มิใช่ผลงานจำลองจาก
ต้นแบบที่เป็นจิตรกรรมหรือวาดเส้น แต่ภาพพิมพ์เป็นผลงานสร้างสรรค์ ที่ศิลปินมีทั้งเจตนาและความ
เชี่ยวชาญในการใช้คุณลักษณะพิเศษเฉพาะของเทคนิควิธีการทางภาพพิมพ์ แต่ละชนิดมาใช้ในการ
ถ่ายทอดจินตนาการ ความคิด และอารมณ์ ความรู้สึกออกมาในผลงานได้โดยตรง แตกต่างกับการที่นำ
เอาผลงานจิตรกรรมที่สร้างสำเร็จไว้แล้วมาจำลองเป็นภาพโดยผ่านกระบวนการทางการพิมพ์
( Original) ที่ี่เหมือนๆกันได้หลายชิ้น เช่นเดียวกับผลงานประติมากรรม ประเภทที่ปั้นด้วยดินแล้วทำแม่
พิมพ์หล่อผลงานชิ้นนั้นให้เป็นวัสดุถาวร เช่นทองเหลือง หรือสำริด ทุกชิ้นที่หล่อออกมาถือว่าเป็นผล
งาน ต้นแบบ มิใช่ผลงานจำลอง ( Reproduction) ทั้งนี้เพราะว่าภาพพิมพ์นั้นก็มิใช่ผลงานจำลองจาก
ต้นแบบที่เป็นจิตรกรรมหรือวาดเส้น แต่ภาพพิมพ์เป็นผลงานสร้างสรรค์ ที่ศิลปินมีทั้งเจตนาและความ
เชี่ยวชาญในการใช้คุณลักษณะพิเศษเฉพาะของเทคนิควิธีการทางภาพพิมพ์ แต่ละชนิดมาใช้ในการ
ถ่ายทอดจินตนาการ ความคิด และอารมณ์ ความรู้สึกออกมาในผลงานได้โดยตรง แตกต่างกับการที่นำ
เอาผลงานจิตรกรรมที่สร้างสำเร็จไว้แล้วมาจำลองเป็นภาพโดยผ่านกระบวนการทางการพิมพ์
ในการพิมพ์ผลงานแต่ละชิ้น ศิลปินจะจำกัดจำนวนพิมพ์ตามหลักเกณฑ์สากล ที่ศิลปสมาคม
ระหว่างชาติ ซึ่งไทยก็เป็นสมาชิกอยู่ด้วย ได้กำหนดไว้โดยศิลปินผู้สร้างผลงานจะเขียนกำกับไว้ที่
ด้านซ้ายของภาพ เช่น 3/30 เลข 3 ตัวหน้าหมายถึงภาพที่ 3 ส่วนเลข 30 ตัวหลังหมายถึงจำนวนที่ พิมพ์ทั้งหมด ในภาพพิมพ์บางชิ้นศิลปินอาจเซ็นคำว่า A/P ไว้แทนตัวเลขจำนวนพิมพ์ A/Pนี้ย่อมาจาก
Artist's Proof ซึ่งหมายความว่า ภาพๆนี้เป็นภาพที่พิมพ์ขึ้นมาหลังจากที่ศิลปินได้มีการทดลองแก้ไข
จนได้คุณภาพสมบูรณ์ตามที่ต้องการ จึงเซ็นรับรองไว้หลังจากพิมพ์ A/P ครบตามจำนวน 10% ของ
จำนวนพิมพ์ทั้งหมด จึงจะเริ่มพิมพ์ให้ครบตามจำนวนเต็มที่กำหนดไว้ หลังจากนั้นศิลปินจะทำลาย
แม่พิมพ์ด้วยการขูดขีด หรือวิธีการอื่นๆ และพิมพ์ภาพสุดท้ายนี้ไว้เพื่อเป็นหลักฐาน เรียกว่าCancellation Proof สุดท้ายศิลปินจะเซ็นทั้งหมายเลขจำนวนพิมพ์ วันเดือนปี และลายเซ็นของศิลปิน
เอง ไว้ด้านล่างขวาของภาพ เพื่อเป็นการรับรองคุณภาพด้วยทุกชิ้น จำนวนพิมพ์นี้อาจจะมากหรือน้อย
ขึ้นอยู่กับความนิยมของ “ ตลาด ” และปัจจัยอื่นๆอีกหลายประการ
ระหว่างชาติ ซึ่งไทยก็เป็นสมาชิกอยู่ด้วย ได้กำหนดไว้โดยศิลปินผู้สร้างผลงานจะเขียนกำกับไว้ที่
ด้านซ้ายของภาพ เช่น 3/30 เลข 3 ตัวหน้าหมายถึงภาพที่ 3 ส่วนเลข 30 ตัวหลังหมายถึงจำนวนที่ พิมพ์ทั้งหมด ในภาพพิมพ์บางชิ้นศิลปินอาจเซ็นคำว่า A/P ไว้แทนตัวเลขจำนวนพิมพ์ A/Pนี้ย่อมาจาก
Artist's Proof ซึ่งหมายความว่า ภาพๆนี้เป็นภาพที่พิมพ์ขึ้นมาหลังจากที่ศิลปินได้มีการทดลองแก้ไข
จนได้คุณภาพสมบูรณ์ตามที่ต้องการ จึงเซ็นรับรองไว้หลังจากพิมพ์ A/P ครบตามจำนวน 10% ของ
จำนวนพิมพ์ทั้งหมด จึงจะเริ่มพิมพ์ให้ครบตามจำนวนเต็มที่กำหนดไว้ หลังจากนั้นศิลปินจะทำลาย
แม่พิมพ์ด้วยการขูดขีด หรือวิธีการอื่นๆ และพิมพ์ภาพสุดท้ายนี้ไว้เพื่อเป็นหลักฐาน เรียกว่าCancellation Proof สุดท้ายศิลปินจะเซ็นทั้งหมายเลขจำนวนพิมพ์ วันเดือนปี และลายเซ็นของศิลปิน
เอง ไว้ด้านล่างขวาของภาพ เพื่อเป็นการรับรองคุณภาพด้วยทุกชิ้น จำนวนพิมพ์นี้อาจจะมากหรือน้อย
ขึ้นอยู่กับความนิยมของ “ ตลาด ” และปัจจัยอื่นๆอีกหลายประการ
สำหรับศิลปินไทยส่วนใหญ่จะจำกัดจำนวนพิมพ์ไว้ค่อนข้างต่ำประมาณ 5-10 ภาพ ต่อ ผลงาน 1 ชิ้น กฏเกณฑ์ที่ศิลปินทั่วโลกถือปฏิบัติกันเป็นหลักสากลนี้ย่อมเป็นการรักษามาตรฐานของภาพพิมพ์ ไว้ อันเป็นการส่งเสริมภาพพิมพ์ให้้แพร่หลายและเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป
เอกสารอ้างอิง
อิทธิพล ตั้งโฉลก. ทศวรรษภาพพิมพ์. กรุงเทพมหานคร: (ม.ป.ท. , ม.ป.พ. ,2535)
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ Blogger
ยินดีตอนรับเข้าสู่ Blogger ของ ปริสา พันธ์ยาง Blog นี้สร้างขึ้นเพื่อไว้ใช้เรียนในรายวิชา อินเตอร์เน็ตเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)